Monday, February 7, 2011

นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยควรเข้าใจระบบวีซ่าของสหรัฐฯ


นักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยทั่วโลก มีโอกาสเดินทางไปสร้างความก้าวหน้าในประเทศสหรัฐฯ ข้อแนะ -นาต่อไปนี้จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์ไม่ประสบปัญหาในการเดินทางไปยังประเทศสหรัฐฯ David T. Donahue, Deputy Assistant Secretary for Visa at the US. Department of State ได้แนะนาไว้ ดังนี้

ใครเป็นผู้กาหนดและควบคุมนโยบายวีซ่า? กฏหมายสหรัฐฯ กาหนดนโยบายวีซ่าและ Consular Affairs, The Office of Visa services ในกรุงวอชิงตัน ดี. ซี. ได้กาหนดมาตรฐานในกระบวน การออกวีซ่าและให้แนวทางการตอบข้อสงสัยทางกฏหมาย สานักงานนี้มีหน้าที่ให้ความสะดวกการเดินทางตามกฏหมายไปยังประเทศสหรัฐฯ เพื่อการปฏิบัติงาน การท่องเที่ยว การศึกษา และการขออพยพย้ายถิ่นอย่างถูกกฏหมาย นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ออกวีซ่านักเรียนและวีซ่าแลก เปลี่ยนบุคลากร (Exchange visitor visa) และผู้เข้ามาทางานชั่วคราวตามกฏหมาย (วีซ่า H-1B)

ใครเป็นผู้ตัดสินใจให้วีซ่า? เจ้าหน้าที่แผนกกงสุลในสถานเอกอัครราชทูตของสหรัฐฯ กว่า 220 แห่งทั่วโลกเป็นผู้ตัดสินใจให้วีซ่าหรือปฏิเสธ เจ้าหน้าที่เหล่านั้นได้รับการฝึกอบรมเข้มข้นในเรื่องภาษาต่างประเทศก่อนที่จะเดินทางไปรับตาแหน่ง และเมื่อเดินทางไปถึงก็ต้องเรียนรู้สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการยื่นขอวีซ่าในประเทศที่ไปรับตาแหน่ง และสามารถทาหน้าที่สัมภาษณ์ในการยื่นขอ วีซ่าในจานวนมากกว่า 100 รายต่อวัน

ทาไมจึงจะได้รับวีซ่าหรือถูกปฏิเสธ? ระหว่างการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่กงสุลจะถามเกี่ยวกับเหตุผลในการขอวีซ่าการเดินทาง และต้องประเมินว่าผู้ยื่นมีความตั้งใจจริงและมีความตั้งใจเดิน -ทางที่ไม่ขัดต่อกฏหมาย ข้อมูลส่วนตัวของผู้ยื่นจะได้รับการตรวจสอบจากฐานข้อมูลว่ามีปัญหาเรื่องการก่ออาชญากรรมหรือก่อการร้ายหรือไม่ และจะออกวีซ่าให้กับผู้เดินทางที่มีคุณสมบัติครบประมาณสามในสี่ของข้อมูลที่สัมภาษณ์ และจะไม่ออกวีซ่าให้ในกรณีที่เห็นว่าผู้ยื่นขอมีเจตนาไปพักอาศัยเกินกว่าระยะเวลาที่กาหนดหรือจะใช้วีซ่าในทางที่ไม่เหมาะสม หากผู้ยื่นขอวีซ่าสหรัฐฯ ไม่ได้เป็นคนในประเทศที่ยื่นขอวีซ่า หรือนอกประเทศบ้านเกิดของตน (nonimmigrant) จะมีปัญหาในการพิสูจน์ทราบว่า เขามีความผูกพันกับประเทศนั้นอย่างไรบ้าง เนื่องจากต้องแสดงให้เห็นว่าเขาจะกลับมาเมื่อวีซ่าหมดอายุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการแสดงให้เห็นว่ามีข้อผูกพันกับประเทศนั้นยังรวมไปถึงระยะเวลาที่เขาพักอาศัยอยู่ในประเทศและสถาน-ภาพเมื่ออยู่ในประเทศนั้น รวมถึงข้อมูลการเดินทางก่อนหน้านั้นด้วย เนื่องจากมีการออกวีซ่าชั่วคราวให้กับนักวิทยาศาสตร์ (ในประเทศที่ไม่ใช่ถิ่นกาเนิดของนักวิทยาศาสตร์นั้น) ซึ่งมีแผน การจะเข้ามาประชุมในประเทศสหรัฐฯ

ผู้เดินทางไปประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์บางรายอาจได้รับการปฏิเสธหรือให้รอคอยวีซ่า ซึ่งขึ้นกับข้อมูลและกระบวนการทางธุรการ เจ้าหน้าที่กงสุลจะตรวจสอบคุณ-สมบัติหรือสิทธิของผู้ยื่นขออย่างละเอียด เนื่องจากบางกรณี ได้มีการห้ามเคลื่อนย้ายเทคโนโลยีหรือข้อมูลที่มีอันตราย ทาให้ต้องมีกระบวน การตรวจสอบเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในกรณีการถ่ายโอนเทคโนโลยีกระบวนการให้วีซ่าจะไม่เกินสองถึงสามสัปดาห์ สถานกลสุลจะขอให้ผู้ยื่นขอวีซ่า มีเวลาเผื่อไว้ระหว่างการยื่นเรื่องขอกับกาหนดเวลาการเดินทางไปสหรัฐฯ หากต้องมีการตรวจสอบเพิ่มเติม

การขอวีซ่าเป็นหนทางเดียวหรือ? The Visa Waiver Pro-gram (VWP) จะอนุญาตให้ผู้เดินทางจากประเทศที่มีข้อตกลง สามารถเดินทางเข้าไปยังประเทศสหรัฐฯ ได้โดยไม่ต้องมีวีซ่าเป็นระยะเวลามากกว่า 90 วันขึ้นไป เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจหรือท่องเที่ยว แต่ช่วงสองปีที่ผ่านมา สหรัฐฯ ได้เพิ่มรายชื่อ ประเทศที่ได้รับการยกเว้นวีซ่าเป็นจานวน 36 ประเทศ ทาให้มีผู้เดินทางจานวน 16 ล้านคนในโปรแกรมนี้เข้ามาในสหรัฐฯ

การขอวีซ่าใช้เวลานานเท่าใด? สหรัฐฯตระหนักว่า เวลาเป็นเงินเป็นทอง จึงพยายามทาให้กระบวนการเร็วมากขึ้นและลดภาระผู้เดินทางโดยใช้นวัตกรรมในทางเทคนิคและการจัดการเพื่อลดเวลาการยื่นขอและการสัมภาษณ์ และขจัดภาระที่เป็นงานกระดาษและการเก็บค่าธรรมเนียมสาหรับสถานทูตและสถานกงสุลในต่างประเทศ และเน้นเรื่องการสัมภาษณ์ผู้ยื่นขออย่างเดียว ในปีที่แล้ว ได้ให้บริการ on-line visa application forms เพื่อลดปัญหาการกรอกข้อมูลและทาให้เจ้าหน้าที่สามารถสัมภาษณ์ผู้ยื่นขอได้มากขึ้น และในระยะต่อไปจะลดการใช้เอกสารในการยื่นขอวีซ่า สาหรับประเทศที่มีความประสงค์จะให้สิทธิต่างตอบแทนในการออกวีซ่าแก่พลเมืองสหรัฐระยะยาวขึ้น สหรัฐฯยินดีให้วีซ่าระยะยาวเช่นกัน ผู้ยื่นขอสามารถยื่นขอวีซ่าครั้งเดียวและได้รับ วีซ่าระยะเวลาห้าหรือสิบปี และการยื่นขอใหม่สามารถทาได้โดยไม่ต้องไปแผนกกงสุลอีก บางประเทศมีการยื่นขอวีซ่าในปริมาณที่สูงมาก เช่น จีน อินเดีย บราซิล ฟิลิปินส์ รัสเซีย อียิปต์ แม้ว้าจะเพิ่มเจ้าหน้าที่ แต่เพื่อลดปัญหา ดังนั้นสานักงานในกรุงวอชิงตัน ดี ซี จึงจัดผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยคอยตอบข้อสงสัยเกี่ยวกับปัญหาวีซ่าทุกประเภทเพียงโทร (202) 663-1225 หรืออีเมล์ที่ USvisa@state.gov. นอกจากนี้ the Business Visa Center, BusinessVisa@state.gov. จะช่วยผู้จัดการประชุมในสหรัฐฯ ให้ทราบเกี่ยวกับหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯในแต่ละประเทศและประสานงานในเรื่องรายชื่อผู้ที่จะเข้ามาประชุมจากต่างประเทศด้วย

นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศจะต้องเตรียมตัวอย่างไรสาหรับการสัมภาษณ์เพื่อขอวีซ่า? ประการแรก ให้เข้าไปที่ เว็บไซด์ของสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ หรือสถานกงสุลในประเทศของตนเพื่อทราบเกี่ยวกับวิธีการนัดหมาย และต้องเสียค่าธรรมเนียมการยื่นขอรับการสัมภาษณ์ วีซ่าสาหรับวีซ่าทุกประเภท (ซึ่งขอเงินคืนไม่ได้) ประมาณ $140 (อาจมีค่าธรรมเนียมอื่นเล็กน้อยในการขอรับการนัดหมาย) ประการที่สอง การยื่นขอต้องยื่นล่วงหน้าอย่างน้อยสามเดือนเพื่อวางแผนการเดินทางได้ ซี่งจะช่วยแก้ปัญหาการจัดการที่ไม่คาดคิด เช่น ในฤดูร้อนในเดือนที่มีการขอวีซ่ามาก ในวันสัมภาษณ์ ผู้ยื่นต้องเตรียมตัวตอบคาถามเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การเดินทางให้ชัดเจน ซึ่งผู้สัมภาษณ์คาดหวังว่าจะได้รับคาตอบที่ชัดเจนจากผู้เดินทางมากกว่าการพิจารณาเอกสารปึกหนาๆ ของหน่วยงานที่เป็นสปอนเซอร์การเดินทางไปสหรัฐฯ หลังจากสัมภาษณ์แล้ว อาจต้องมารับวีซ่าในอีกหลายวันทาการถัดมา หากการยื่นขอได้รับการปฏิเสธ เจ้าหน้ากงสุลจะแจ้งผู้ยื่นขอให้ทราบข้อกฏหมายที่ต้องปฏิเสธให้ทราบ หากการปฏิเสธมีสาเหตุจากข้อมูลไม่เพียงพอเจ้าหน้าที่จะให้คาแนะนาเพิ่มเติมแก่ผู้ยื่นขอ ทั้งนี้ การอานวยความสะดวกในการออกวีซ่ายังครอบคลุมการทางานหลายประเภท นับแต่ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และ State Department จะปรับปรุงวิธีการให้วีซ่าเพื่อทาให้สหรัฐฯ เป็นผู้นามีความเข้มแข็งในการแลกเปลี่ยนทางวิทยาศาสตร์ของโลกมากขึ้น


ที่มา: www.cen-online-org., January 3, 2011

No comments:

Post a Comment