Monday, February 7, 2011

พบสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) ปนเปื้อนในน้าประปาถึง 31 เมืองในสหรัฐฯ


จากผลการวิเคราะห์น้าประปาล่าสุดโดยกลุ่มผู้วิจัย ได้พบสาร Hexavalent Chromium ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) ปนเปื้อนในน้าประปา (Tap water) ทั้งหมด 31 เมืองในประเทศสหรัฐฯ สารพิษที่มีการปนเปื้อนในน้า เป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไปเนื่องมาจากภาพยนตร์เรื่อง Erin Brockovich ที่ได้เข้าฉายเมื่อปีค.ศ. 2000 ได้สร้างขึ้นจากเรื่องจริงที่มีผู้ชนะคดีความการฟ้องร้องเรื่องการปนเปื้อนของสารพิษในน้า สารดังกล่าวสามารถก่อให้เกิดโรคมะเร็งในสัตว์ทดลองได้จากผลการทดลองในห้องทดลองโดยองค์กร NTP (National Toxicology Program) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสถาบันสาธารณสุขแห่งชาติ (National Insti-tutes of Health: NIH)

การหันมาบริโภคน้าดื่มจากขวด ไม่สามารถช่วยป้องกันการปนเปื้อนจากสารพิษดังกล่าวได้ เนื่องจากน้าที่นามาบรรจุขวดนั้น นามาจากกระบวนการผลิตเดียวกันกับน้าประปา และไม่สามารถป้องกันการปนเปื้อนจากสารดังกล่าว รวมถึงการปนเปื้อนอื่นๆ อีกด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้เครื่องกรองน้าแบบมาตรฐานที่กรองด้วยคาร์บอนนั้น ไม่เพียงพอที่จะกรองสารดังกล่าว ทั้งนี้ เครื่องกรองน้าที่มีระบบการกรองแบบ Reverse-Osmosis สามารถแยกสารดังกล่าวออกจากน้าดื่มได้เพียงในเบื้องต้นเท่านั้น

ในปัจจุบัน รัฐบาลสหรัฐฯ ยังไม่ได้กาหนดมาตรฐานของปริมาณสาร hexavalent chromium ที่ปนเปื้อนในน้าดื่ม เนื่องจากยังอยู่ในกระบวนการพิจารณา ทั้งนี้ มลรัฐแคลิฟอร์เนียได้กาหนดค่าเป้าหมายเพื่อยกระดับมาตรฐานของน้าประปา โดยสามารถมีปริมาณสารดังกล่าวปนเปื้อนในน้าได้ไม่เกิน 0.06 ppb (part per billion) จากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้าจากทั้งหมด 35 เมืองในสหรัฐฯ ได้ตรวจพบการปนเปื้อนของสารดังกล่าวใน 31 เมือง ซึ่งมี 25 เมืองที่มีปริมาณสารดังกล่าวสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด โดยเมือง Bethesda มลรัฐ Maryland และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. มีปริมาณสารดังกล่าวปนเปื้อนในน้าถึง 0.19 ppb และยังพบว่ามากกว่าค่าเป้าหมายถึงสามเท่า

สาร hexavalent chromium เป็นสารที่ถูกนามาใช้ในอุตสาหกรรมเคมี เช่น โรงงานผลิตสี และพลาสติก เป็นต้น ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 จนถึงปัจจุบัน จากผลการวิจัยที่ผ่านมาพบว่า สารดังกล่าวสามารถก่อให้เกิดโรงมะเร็งในมนุษย์ได้หากได้รับการสูดดม และสามารถก่อให้เกิดเนื้องอกและโรคมะเร็งบริเวณทางเดินอาหารในหนูทดลองโดยผ่านการดูดซึมของร่างกาย

สถาบัน American Chemistry Council ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่มอุตสาหกรรมเคมี ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับค่าเป้าหมายของระดับมาตรฐานดังกล่าวว่าเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์สารดังกล่าวในปัจ จุบันไม่สามารถตรวจวัดได้แม่นยาตามมาตรฐานที่มลรัฐแคลิฟอร์เนียกาหนด อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยดังกล่าว ได้สร้างความตื่นตัวให้กับประชาชนรวมถึงรัฐบาลสหรัฐฯ คานึงถึงข้อกาหนดมาตรฐาน น้าดื่มในปัจจุบัน เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานชีวิตประชากรต่อไป


ที่มา: The Washington Post, December 20, 2010.
http://www.ostc.thaiembdc.org/stnews_feb11_10.html

No comments:

Post a Comment